Post thumbnail


ชื่ออาจารย์ : ผศ. ดร.   กฤษณะ โสขุมา
สังกัด : สาขาคณิตศาสตร์
ห้องทำงาน : อาคาร 8 ห้อง 853
หมายเลขโทรศัพท์ :
อีเมล์ : k_sokhuma@yahoo.co.th
Facebook :


สถานที่ติดต่อ :

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เลขที่ 9 ถนนแจ้งวัฒนะ อนุสาวรีย์ บางเขน กรุงเทพฯ 10220 Faculty of Science and Technology Phranakhon Rajabhat University 9 Changwattana Road, Bangkhen Bangkok,Thailand 10220.

การศึกษา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต                                คณิตศาสตร์         มหาวิทยาลัยบูรพา,                    2554
การศึกษามหาบัณฑิต                             คณิตศาสตร์         มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,   2546
ครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1)    คณิตศาสตร์         สถาบันราชภัฏนครปฐม,              2541

ด้านที่เชี่ยวชาญ

1. ทฤษฎีจุดตรึงและการประยุกต์ (Fixed Point Theory and Applications)
2. การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ (Mathematics Education)

รายวิชาที่สอน

รายวิชาที่สอน ระดับปริญญาตรี
4091402 แคลคูลัส 1 (Calculus 1)
4093202 ทฤษฎีเชต (Set Theory)
4094408 การวิเคราะห์เชิงจริง 1 (Real Analysis 1)
4094413 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Analysis)
4094304 พีชคณิตเชิงเส้น (Linear Algebra)
4091208 ระบบจำนวน (Number System )
4091401 แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1 (Calculus and Analytic Geometry 1 )
4091206 หลักการคณิตศาสตร์ (Principles of Mathematics )
4092106 การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (Learning Management for STEM Education )
4093310 พีชคณิตนามธรรม (Abstract Algebra )
4092603 คณิตศาสตร์ประยุกต์ (Mathematics Applied)
4091112 คณิตศาสตร์กับการตัดสินใจ (Mathematics and Decision Making)
4091615 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์แอนิเมชันและมัลติมีเดีย (Mathematics for Computer Animation and Multimedia)
4091614 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา 1 (Mathematics Learning Management for Secondary Education 1)
4094903 การวิจัยทางคณิตศาสตรศึกษา (Research in Mathematics Education)
4111101 หลักสถิติ (Principles of Statistics)
4113105 สถิติเพื่อการวิจัย (Statistics for Research)
รายวิชาที่สอน ระดับปริญญาโท (สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา)
4096405 การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Analysis)
4096501 เรขาคณิตสำหรับครู (Geometry for Teachers )
4095907 การจัดการเรียนรู้โครงงานคณิตศาสตร์ (Mathematics Projects Learning Management )
4095606 สัมมนาการวิจัยทางคณิตศาสตรศึกษา (Seminar on Research in Mathematics Education )

 

 

 

ประสบการณ์ทำงาน

28 ธ.ค. 2558 – ปัจจุบัน                อาจารย์ประจำสาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                      มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
 5 ต.ค. 2547 – 27 ธ.ค. 2558       อาจารย์ประจำสาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                                                      มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
29 มิ.ย.2541 – 4 ต.ค. 2547         อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองกระเสียว 1
                                                      อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี

ผลงานที่ผ่านการตีพิมพ์

ผลงานที่ผ่านการตีพิมพ์ระดับนานาชาติ
Kritsana Sokhuma. (2024). Ishikawa Iterative Process for Two Nonlinear Mapping in CAT(0) Spaces.
           Asia Pac. J. Math., 11 (2024), 25. doi:10.28924/APJM/11-25.
Anantachai Padcharoen, Kritsana Sokhuma and Jamilu Abubakar. (2023). Projection methods for
            quasi-nonexpansive multivalued mappings in Hilbert spaces.  AIMS Mathematics. 8(3), 
           pp. 7242 - 7257. doi: 10.3934/math.2023364.
K. Sokhuma. (2022). Convergence theorems for two nonlinear mappings in CAT(0) spaces.
            Nonlinear Functional Analysis and Applications. Vol. 27, No. 3 (2022), pp. 499-512.
P. Praekhaow, T. Chidanurak, A. S. Konglok & K. Sokhuma. (2021). Studying conditions and problems for 
             developing mathematics learning model of undergraduate students in Thailand
. Infinity,
            10 (1), pp. 121-132.
K. Sokhuma. (2019). An Ishikawa iteration scheme for two nonlinear mappings in CAT(0) spaces.
            Kyungpook Mathematical Journal. 59 (4): pp. 665-678.
K. Sokhuma. (2018). On SP-iteration Schemes for Multi-valued Mapping in CAT(0) Spaces. Fixed Point
            Theory. 19 (2018), No. 2, 775 - 784. DOI: 10.24193/fpt-ro.2018.2.57.
K. Sokhuma and N. Akkasriworn. (2017). Rate of covergence of S-iteration, SP-iteration and KS-iteration for
             continuous functions on closed interval
. Far East Journal of Mathematical Sciences (FJMS).
            102 (2), 409 - 420.
N. Akkasriworn and K. Sokhuma, (2016). S-Iterative Process for a Pair of Single Valued and Multi Valued
             Mappings in Banach Spaces
.Thai Journal of Mathematics. Volume 14 (2016),  Number 1: 21–30.
K. Sokhuma,  A. Thanyacharoen and C. Jaisin. (2016). Finding Remainder on Dividing Numbers.  British
             Journal of Mathematics & Computer  Science
. 13 (3): 1-5, Article no. BJMCS.18354.
N. Akkasriworn and K. Sokhuma. (2015). Convergence theorems for a pair of asymptotically and         
             multivalued nonexpansive mapping in CAT(0) spaces
. Commun. Korean Math. Soc., 30 (2015),
            No. 3, 177–189.
K. Sokhuma. (2013).  Δ–Convergence Theorems for a Pair of Single-valued and Multivalued Nonexpansive
             Mappings in CAT(0) Spaces
. Journal of Mathematical Analysis. Jul 2013, Vol. 4 Issue 2, 23–31.
K. Sokhuma. (2013). Matrices formula for padovan and perrin sequences. Applied Mathematical Sciences.
             7 (141-144), 7093–7096.
K. Sokhuma. (2013). Padovan Q-matrix and the generalized relations. Applied Mathematical Sciences.
             7 (53-56), 2777–2780.
B. Varachanon, N. Akkasriworn and K. Sokhuma.(2013). Endpoint and a Common Fixed Point for Multi-Valued
             Mappings
. Int. Journal of Math. Analysis, Vol. 7, No. 14, 675 - 682.
N. Akkasriworn,  K. Sokhuma, K. Chuikamwong. (2012). Ishikawa iterative process for a pair of Suzuki
             generalized nonexpansive single valued and multivalued mappings in Banach spaces
.
             Int. J. Math. Anal. 6 (19), 923–932.
N. Akkasriworn , A. Kaewkhao , An. Keawkhao and K. Sokhuma, (2012). Common fixed point results in
             uniformly convex Banach spaces
.  Fixed Point Theory and Applications,
            doi:10.1186/1687-1812-2012-171.
K. Chuikamwong, N. Akkasriworn and K. Sokhuma, (2012). The Mild Modification of the (DL)-Condition and
             Fixed Point Theorems
, Int. Journal of Math. Analysis, Vol. 6, no. 19, 933 – 940.
K. Sokhuma and A. Kaewkhao, (2010). Ishikawa iterative process for a pair of single valued and multi-
             valued 
nonexpansive mapping in Banach spaces. Fixed Point and Application,
             doi:10.1155/2010/618767.         
A. Kaewkhao and K. Sokhuma, (2010). Remarks on Asymptotic Centers and Fixed Points, Abstract and Applied
             Analysis, vol. 2010, Article ID 247402, 5 pages, 2010. https://doi.org/10.1155/2010/247402.

ผลงานที่ผ่านการตีพิมพ์ระดับชาติ
กฤษณะ โสขุมา, อภิชาติ ลือสมัย, ภัทรพร ตัสโต. (2566). การศึกษาประสิทธิภาพหลักสูตรพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยี
             จัดการเรียนรู้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
. 
             
วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2566. หน้า 233 - 244.
มุทิตา ทองใบ, กฤษณะ โสขุมา และเดช บุญประจักษ์. (2566). การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง การประยุกต์ของ
             ปริพันธ์.
 วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566.
            หน้า 259 - 267.
รัฐวัฒน์ หอมรื่น, สมวงษ์ แปลงประสพโชค และกฤษณะ โสขุมา. (2566). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
             ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้บาร์โมเดลร่วมกับแอปพลิเคชัน
             Photomath
. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566.
            หน้า 234 - 245.
กฤษณะ โสขุมา, อภิชาติ ลือสมัย และภัทรพร ตัสโต. (2566). สภาพการณ์และความต้องการในการพัฒนาทักษะการใช้
             เทคโนโลยีจัดการเรียนรู้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนระดับ
             มัธยมศึกษาตอนต้น
. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 กรกฎาคม 2566. หน้า 194 - 210.
บุญชัย อารีเอื้อ,พรสิน สุภวาลย์, อภิชาติ ลือสมัย, กฤษณะ โสขุมา, ภัทรพร ตัสโต และเมธัช เชื้อแดง. (2566). การพัฒนารูปแบบ
             เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ในอำเภอ
             ชัยบาดาล จังหวัด
ลพบุรี.  Journal of Roi Kaensarn Academi ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมีนาคม 2566.
            หน้า 457 - 475.
วนัชพร ชมชื่นใจ, สมวงษ์ แปลงประสพโชค และกฤษณะ โสขุมา. (2565). ผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
             เรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
. วารสารวิจัยรำไพพรรณี ปีที่ 16 ฉบับที่ 2
            พฤษภาคม - สิงหาคม 2565. หน้า 102 - 108.
อัจจิมา  บรรพต, กฤษณะ  โสขุมา และเดช  บุญประจักษ์. (2565). การเปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ลำดับและ
            อนุกรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค TAI กับการสอนแบบปกติ

            วารสารวิจัยรำไพพรรณี ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2565. หน้า 109 - 118.
ภุชงค์ แพรขาว, ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, สุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล ก้องโลก และกฤษณะ โสขุมา. (2565). การจัดการเรียนรู้โดย
             บูรณาการการเรียนแบบกลุ่มและแบบการใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาและ
             ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
             วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2565. หน้า 209-223.
ภุชงค์ แพรขาว, ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, สุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล ก้องโลก และกฤษณะ โสขุมา. (2565). การพัฒนารูปแบบ
             การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการการเรียนแบบกลุ่มและแบบการใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างความสามารถใน
             การแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์
            มจร. ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 (มิถุนายน 2565). 1709 – 1725.
บุญชัย อารีเอื้อ, พรสิน สุภวาลย์, กฤษณะ โสขุมา, อภิชาต ลือสมัย ภัทรพร ตัสโต และปรีชา จั่นกล้า. (2565). ความคิดเห็นต่อ
             การสอนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และความคาดหวังต่อนักเรียนที่เรียนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
             ของครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นนทบุรี เขต 1 และ 2
.
             วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. หน้า 371 - 390.
สุภาภรณ์ อุ้ยนอง, กฤษณะ โสขุมา และสมวงษ์ แปลงประสพโชค. (2564). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นที่
             ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ เรื่อง พีระมิด กรวย และทรงกลม สำหรับนักเรียนชั้น 
             มัธยมศึกษาปีที่ 3
. วารสารวิจัยรำไพพรรณี ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2564 หน้า 95 – 105.
ภัทรฤทธิ์ ภัทรธนชิต, เดช บุญประจักษ์ และกฤษณะ โสขุมา. (2564). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง
             โจทย์ปัญหา ห.ร.ม.และ ค.ร.น. ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจําลองสถานการณ์ในชีวิตจริง
.
             วารสารสมาคมนักวิจัยปีที่ 26 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2564. หน้า 315 - 326.
จิราภัส พรมบังเกิด, เดช บุญประจักษ์ และกฤษณะ โสขุมา. (2563). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้
             แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5Es) ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์
             ทางการเรียน เรื่อง อสมการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
. วารสารวิจัยรำไพพรรณี. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3
             กันยายน - ธันวาคม 2563 หน้า 63 – 71.
กฤษณะ โสขุมา, อภิชาติ ลือสมัย,  อรพรรณ สุวรรณเสน และภัทรพร ตัสโต. (2562). ทฤษฎีการลู่เข้าสําหรับการส่ง
              ไม่ขยายออกแบบคู่ผสมในปริภูมิแคทซีโร่
. สักทอง: วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1
              มกราคม - มิถุนายน 2562. หน้า 83 – 93.
พรวิวัฒน์ วิหคทอง, สมวงษ์ แปลงประสพโชค และกฤษณะ โสขุมา. (2562). การจัดกิจกรรมการสอนทำโครงงานคณิตศาสตร์ 
              สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
.
             วารสารวิจัยรำไพพรรณี. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2562. หน้า 83 – 91.
บุญชัย อารีเอื้อ, พรสิน สุภวาลย์, กฤษณะ โสขุมา, ภัทรพร ตัสโต, อภิชาติ ลือสมัย, อรพรรณ สุวรรณเสน,  และธนวรรณ คงเจริญ.
             (2561). สมรรถภาพครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาในสังกัด สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
              ด้านความรู้ทางคณิตศาสตร์ ด้านการเตรียมการสอนทาง คณิตศาสตร์ และด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
              ทางคณิตศาสตร์
. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2. หน้า 299 – 317.

 

    

 

 

ผลงานที่ผ่านการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ

นัฎฐกิตติ์ เพชรี, สมวงษ์ แปลงประสพโชค และกฤษณะ โสขุมา. (2564). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง
                การบวก ลบ คูณ หารจํานวนนับ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
. การประชุม
                วิชาการระดับชาติ “การวิจัย สร้างดุลยภาพชีวิตเพื่อรองรับ New Normal” ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
                วันที่ 8 – 9 กรกฎาคม 2564. หน้า 497 – 504. 
เกริกเกียรติ แสงวิทยาประทีป, กฤษณะ โสขุมา และเดช บุญประจักษ์. (2564). ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์
                สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค TAI
.
                การประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัย สร้างดุลยภาพชีวิตเพื่อรองรับ New Normal” ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
                นครปฐม วันที่ 8 – 9 กรกฎาคม 2564. หน้า 524 – 531.
สิริกาญจน์ สิมลี, สมวงษ์ แปลงประสพโชค และกฤษณะ โสขุมา. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้การฝึกทักษะวิชาแคลคูลัส 
               และเรขาคณิตวิเคราะห์ 1 เรื่อง ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน สําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
               พระนคร
. การประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยสร้างดุลยภาพชีวิตเพื่อรองรับ New Normal” ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัย
               ราชภัฏนครปฐม วันที่ 8 – 9 กรกฎาคม 2564. หน้า 532 – 539.
เมธัส เชื้อแดง, บุญชัย อารีเอื้อ, กฤษณะ โสขุมา และพรสิน สุภวาลย์. (2563). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา       
                แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1 เรื่อง การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันโดยใช้สูตร ด้วยรูปแบบการสอน   
                แบบซิปปา (CIPPA MODEL) ร่วมกับการใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

                รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัย (Symposium) ระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 12               
                บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 28 มีนาคม 2563.  หน้า 42 – 50.       
สุรีรัตน์ อนุเพ็ญ, น้้ารินทร์ กาบแก้ว, อนุสรา กิจพงษ์พานิช และกฤษณะ โสขุมา. (2562). การศึกษาสมบัติบางประการของ         
                จำนวนเพลล์  จำนวนเพลล์-ลูคัส และจำนวนเพลล์ดัดแปลง โดยอาศัยฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิก
. รายงาน
                สืบเนื่อง จากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 4. ระหว่าง
                วันที่ 26 - 28 มิถุนายน 2562. ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพมหานคร, หน้า 1248 – 1254. 
กฤษณะ โสขุมา. (2558). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ของ
              นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 ราชบุรี. 
รายงานสืบเนื่องจาก
              การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา ครั้งที่ 6 “พัฒนางานวิจัยเพื่อท้องถิ่น และชุมชน
              อย่างยั่งยืน” 23 – 24 กรกฎาคม 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี, หน้า 19 – 28.
K.Sokhuma and A. Kaewkhao. (2009). A common fixed point for asymptotically nonexpansive mapping
              and a multivalued nonexpansive mappings
. The Sixth International Conference on Nonlinear Analysis
             and Convex Analysis (NACA). March 27 – 31, 2009. at Tokyo Institute of Technology, Tokyo, JAPAN.

สมาชิกขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ

 1. สมาชิกคุรุสภา
 2. Scopus Author ID: 36873183200
 3. Web of Science Research ID: ADJ-6905-2022
 4. ORCID ID: 0000-0002-9298-6772

รางวัลที่ได้รับ

พ.ศ. 2549  ได้รับทุนการศึกษาระดับปริญญาเอกโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการผลิตและพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา
พ.ศ. 2546  ได้รับทุนสนับสนุนการทำปริญญานิพนธ์ จาก "สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี"
พ.ศ. 2537  ได้รับทุนเป็นนักศึกษา "โครงการคุรุทายาท" ประจำปีการศึกษา 2537 (รุ่นที่ 8)

ผลงานวิชาการ

กฤษณะ โสขุมา. (2547). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การคิดและการตัดสินใจ. ราชบุรี :มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง. 197 หน้า
กฤษณะ โสขุมา. (2556). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ทฤษฎีจำนวน. ราชบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง. 168 หน้า
กฤษณะ โสขุมา. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น. 240 หน้า.
กฤษณะ โสขุมา. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น. 204 หน้า.
กฤษณะ โสขุมา. (2562). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น. 260 หน้า.
กฤษณะ โสขุมา. (2562). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น. 248 หน้า.
กฤษณะ โสขุมา. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น. 216 หน้า.
กฤษณะ โสขุมา. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น. 264 หน้า.

 

 

ผลงานวิจัย

กฤษณะ โสขุมา. (2556). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
                ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 ราชบุรี
. ราชบุรี :
                คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
กฤษณะ โสขุมา. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการวิเคราะห์จํานวนเชิงซ้อนเบื้องต้น ของนักศึกษา
               วิชาเอกคณิตศาสตร์ชั้นปีที่ 3 โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือ
. ราชบุรี : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
               มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
กฤษณะ โสขุมา. (2546). กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรื่องแบบรูปและการให้เหตุผล สำหรับนักเรียน
               ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
. กรุงเทพฯ : ปริญญานิพนธ์ (กศ.ม.), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.