Post thumbnail


ชื่ออาจารย์ : ผศ. ดร.   ธนภูมิ ศิริงาม
สังกัด : สาขาการจัดการเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่
ห้องทำงาน : ห้องพักอาจารย์ ชั้น 1 อาคาร 60
หมายเลขโทรศัพท์ : 080-795-1451, 02-522-6609 โทรสาร: 02-522-6609
อีเมล์ : siringam@yahoo.com
Facebook : Thanapoom Siringam


สถานที่ติดต่อ :

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เลขที่ 9 ถนนแจ้งวัฒนะ อนุสาวรีย์ บางเขน กรุงเทพฯ 10220&

การศึกษา

- ปร.ด. (พฤกษศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2555.
- วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547.
- วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2544.

ด้านที่เชี่ยวชาญ

- Plant Physiology

- Plant Stress Physiology

- Crop Production

- Plant Tissue Culture

รายวิชาที่สอน

- Principle of Plant Science

- Special Problem

- Plant tissue Culture for Agriculture

- English for Agriculture I

- English for Agriculture II

- Seminar

- Research Methodology in Agriculture

 

ประสบการณ์ทำงาน

- 2004-2005: Assistant Researcher at Plant Physio-Biochemistry Laboratory, National Center for Genetic Engineering and Biotechnology (BIOTEC), National Science and Technology Development Agency, Pathumthani (NSTDA)
- 2011-Present: Lecturer at Department of Agriculture, Faculty of Science and Technology, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok. 
 

ผลงานที่ผ่านการตีพิมพ์

- ธนภูมิ ศิริงาม นราศักดิ์ บุญมี และ วาสินี พงษ์ประยูร. (2562). อิทธิพลของอัตราส่วนสารละลายธาตุอาหารและน้ำหมักมูล              ไส้เดือนดินต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอมพันธุ์กรีนโอ๊คที่ปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์. Thai Journal of                    Science and Technology ปีที่ 8 (ฉบับที่ 1) หน้า 77-84.

ขนิษฐา แก้วสงค์ ศิริพร ศรีภิญโญวณิชย์ ธนภูมิ ศิริงาม และ วาสินี พงษ์ประยูร. (2561). โปรไฟล์กรดอะมิโนรวมและกรด                 อะมิโนอิสระในข้าว 4 พันธุ์. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปี ที่ 23 (ฉบับที่ 3) หน้า 1199-1210.

ธนภูมิ ศิริงาม. (2560). ลักษณะทางสรีรวิทยาของข้าวที่ตอบสนองต่อสภาวะความเค็ม. วารสารวิทยาศาสตร์และ                          เทคโนโลยีปีที่ 25 ฉบับที่ 6 หน้า 1025-1038.

คงเอก ศิริงาม ณัฐจิรา น่วมกระสินธ์ อรสา รื่นสุข บุณยนุช ศรีดอกไม้ และ วันชัย บุญเส็ง. (2558). การเปลี่ยนแปลงของ                  โซเดียมไอออนโพแทสเซียมไอออนและการเจริญเติบโตของต้นกล้าข้าวไทยภายใต้สภาวะความเค็ม. วารสาร                  วิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 46 ฉบับที่ 3 (พิเศษ) หน้า 585-588.

คงเอก ศิริงาม ปราณีต จิระสุทัศน์ และ วิภาภรณ์ แสวงมี. (2558). ผลของวิธีการปลูกต่อการเจริญเติบโตและปริมาณ                         รงควัตถุของผักกาดหอมใบพันธุ์กรีนโอ๊ค.วารสารวิจัยราชภัฏพระนครปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 82-95.

คงเอก ศิริงาม. (2558). ผลของสภาวะขาดน้ำต่อการรั่วไหลของสารอิเล็กโทรไลต์ปริมาณรงควัตถุปริมาณโพรลีนและการ                  เจริญเติบโตของข้าว. Thai Journal of Science and Technology ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 หน้า 133-146.

ดุษณี ศุภวรรธนะกุล รัศมี แสงศิริมงคลยิ่ง ละอองทิพย์ มัทธุรศ สมคิด สุทธิธารธวัช และ คงเอก ศิริงาม. (2558). การ                        พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในการดูแลอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวานตำบลท่าดินดำ อำเภอ                  ชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี. วารสารวิจัยราชภัฏพระนครปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 1-12.

คงเอก ศิริงาม กุลิสรา ธีระวิภา และ ณัฐวุฒิ ไหลหาโคตร. (2557). ผลของสารละลายธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตของ                     ผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปีที่ 22 ฉบับที่ 6 (ฉบับ                           พิเศษ) หน้า 828-836.

คงเอก ศิริงาม ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ สรัญญา วัชโรทัย และ เฉลิมพล เกิดมณี. (2555). ผลของแอมโมเนียมไนเตรท                             โซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟตและโพแทสเซียมซัลเฟตต่อการเจริญเติบโตและปริมาณสาร 1′-                                          Acetoxychavicol Acetate (ACA) ภายในข่าย.วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และ                            เทคโนโลยีปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 10-26.

คงเอก ศิริงาม ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ สรัญญา วัชโรทัย และ เฉลิมพล เกิดมณี. (2555). ผลของฟอสฟอรัสและค่าความเป็น                      กรด-เบสต่อการเจริญเติบโตและปริมาณสาร 1′-Acetoxychavicol Acetate (ACA) ภายในข่าในสภาพการ                        ปลูกพืชไร้ดิน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 2(2): 1-15.

- คงเอก ศิริงาม, ธรรมศักดิ์ ทองเกต,ุ สรัญญา วัชโรทัย, เฉลิมพล เกิดมณี. 2554. อิทธิพลของพื้นที่ปลูกและอายุของไร                        โซมต่อความผันแปรของปริมาณสาร 1'- Acetoxychavicol Acetate (ACA) ภายในไรโซมข่า. วารสาร                               วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1(1): 1-15.

- Siringam, K., Juntawong, N., Cha-um, S. and Kirdmanee, C. (2013). Exogenous application of potassium                        nitrate to alleviate salt stress in rice seedlings..Journal of Plant Nutrition 36(4): 607-616.

Siringam, K., Juntawong, N., Roytrakul, S., Cha-um, S. and Kirdmanee, C. (2013). Salt stress treatment                          and salt exposure time altered physiological characteristics in Thai rice (Oryza sativa L. subsp.                        indica).KMITL Science and Technology Journal 13(2): 94-104.

Siringam, K., Thongket, T., Vajrodaya, S., Mosaleeyanon, K. and Kirdmanee, C. (2012). Optimization of air                      temperature and medium pH enhanced growths and 1′-Acetoxychavicol Acetate (ACA) content of                    galangal (Alpinia galanga) plantlets in vitro. KMITL Science and Technology Journal 12(1): 30-                    38.

- Siringam, K., N. Juntawong, S. Cha-um, T. Boriboonkaset and C. Kirdmanee. 2012. Salt tolerance                                 enhancement in indica rice (Oryza sativa L. spp. indica) seedlings using exogenous sucrose                             supplementation. Plant Omics Journal (POJ) 5(1): 52-59.


- Siringam K., N. Juntawong, S. Cha-um and C. Kirdmanee. 2011. Salt stress induced ion accumulation, ion                       homeostasis, membrane injury and sugar contents in salt-sensitive rice (Oryza                                                 sativa L.spp. indica) roots under iso-osmotic conditions. African Journal of Biotechnology. 10:                     1340-1346.

- Cha-um S., K. Siringam, N. Juntawong and C. Kirdmanee. 2010. Water relations, pigment stabilization,                           photosynthetic abilities and growth improvement in salt stressed rice plants treated with                                   exogenous potassium nitrate application. International Journal of Plant Production. 4: 187-                         198.

- Siringam K., N. Juntawong, S. Cha-um and C. Kirdmanee. 2009. Relationships between sodium ion                                 accumulation and physiological characteristics in rice (Oryza sativa L. spp. indica) seedlings                             grown under iso-osmotic salinity stress. Pakistan Journal of Botany 41: 1837-1850.

ผลงานที่ผ่านการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ

- คงเอก ศิริงาม และ นราศักดิ์ บุญมี. (2558). ผลของสารละลายธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตและปริมาณรงควัตถุ                 ของผักกาดหอมพันธุ์คอส. การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 53 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.                            3-6  กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กรุงเทพฯ. หน้า 1596-1603.

- คงเอก ศิริงาม. (2557). อิทธิพลของพันธุ์ผักกาดหอมและการหมุนเวียนสารละลายธาตุอาหารที่เกิดจากกำลังไฟฟ้า                ของปั๊มต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอมที่ปลูกบนชั้นปลูกพืชไฮโดรพอนิกส์รูปทรงสามเหลี่ยม.การ                        ประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยประชาชื่น “วิจัยสู่นวัตกรรม นำไทยพัฒนาอย่างยั่งยืน”. 23                          พฤษภาคม พ.ศ.2557 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ. หน้า 33-44.

- คงเอก ศิริงาม นราศักดิ์ บุญมี และ สิทธิพงศ์ ขันทองคำ. (2557). อัตราส่วนของน้ำเลี้ยงปลานิลและสารละลายธาตุ                อาหารต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์. การประชุมวิชาการระดับชาติ                      เครือข่ายวิจัยประชาชื่น “วิจัยสู่นวัตกรรม นำไทยพัฒนาอย่างยั่งยืน”. 23 พฤษภาคม พ.ศ.2557 ณ                            มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ. หน้า 45-55.

- คงเอก ศิริงาม . (2557). การตอบสนองทางสรีรวิทยาของผักกาดหอมพันธุ์บัทเทอร์เฮดต่อระบบการปลูกพืชโดยไม่                ใช้ดินที่แตกต่างกัน.การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “การวิจัยรับใช้ชุมชน สร้าง                         สังคมฐานความรู้”. 22 สิงหาคม พ.ศ.2557 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี กรุงเทพฯ. หน้า 615-622.

- Siringam, K. (2016). Salt stress altered ion contents, leaf electrolyte leakage, photosynthetic pigment contents                and growth abilities of Thai rice (Oryza sativa L. spp. indica). Seoul International Conference on                     Life Sciences and Biological Engineering (SICLSBE). 5-7 January 2016, Seoul, Korea. 234-243 pp.

- Siringam, K. (2015). Physiological characteristic responses in Thai rice (Oryza sativa L.) to drought stress. The                 5th Internation Academic Conference of Phetchaburi Rajabhat University to Sustainable                     Thailand “The Interdisciplinary Research and Innovation for Sustainable Development in                   Asia and the Pacific Conference”. .3-4 July 2015, Phetchaburi Rajabhat University, Thailand. 29-35                pp.

      - Siringam K., N. Juntawong, S. Cha-um and C. Kirdmanee. 2009. Ion contents, membrane injury,                                 raffinose and stachyose and growth characters of indica rice (Oryza sativa L. ssp. indica) roots in                     responses to iso-osmotic salt stresses. Agricultural Biotechnology International Conference                             (ABIC) 2009: Agricultural Biotechnology for Better Living and a Clean Environment. 23-25                                 September 2009. Queen Sirikit National Convention Center Bangkok, Thailand.

- Siringam K., N. Juntawong, S. Cha-um and C. Kirdmanee. 2007. Na+ accumulation, pigment                                           concentrations, water oxidation and growth abilities of salt-tolerant and salt-sensitive cultivars of                       indica rice (Oryza sativa L. ssp. indica) in responses to salt stress. Bioasia 2007: The 2nd                                 International Conference on Rice for the Future. 7-9 November 2007. Queen Sirikit National                             Convention Center Bangkok, Thailand.

- Siringam E., T. Thongket, S. Vajrodaya and C. Kirdmanee. 2004. Effect of macronutrient on growth and 1'-                       Acetoxychavicol Acetate (ACA) production of galangal (Alpinia galanga (Linn.) Swartz.). National                    Horticultural Meeting 17-22 October 2004, Bangkok, Thailand.

- Siringam, E., T. Thongket, S. Vajrodaya and C. Kirdmanee. 2004. In-vitro bioactive compound production of                    (Alpinia galangal (Lin.) Swartz.) for anti-tuberculosis. The 15th Annual Meeting of Thai Society for                    Biotechnology 3-6 Feb 2004, Chiang Mai, Thailand.

- Siringam, E., T. Thongkate, S. Vajrodaya and C. Kirdmanee. 2003. Bioactive compound production of                              galangal (Alpinia galanga (Linn.) Swartz.) In-vitro under different temperature. BioThailand 2003:                      Technology for Life, 17-20 July 2003, Pattaya, Thailand.

- Siringam E., T. Thammasak, S. Vajrodaya and C. Kirdmanee.2003. Effect of macronutrients and                                      temperature on growth and bioactive compound in rhizome of galangal (Alpinia galanga L.                                Swartz.). The 20th Pacific Science Congress, 17-21 March 2003, Bangkok, Thailand.

รางวัลที่ได้รับ

- 2005-2008: Scholarship from Thailand Graduate Institute of Science and Technology (TGIST), National Science and Technology Development Agency (NSTDA), Thailand.

- 2001-2003: Scholarship from Local Graduate Scholarship (LGS), National Center for Genetic Engineering and Biotechnology (BIOTEC), National Science and Technology Development Agency (NSTDA), Thailand.

- 2559: รางวัลนักวิจัยดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

- 2558: ผู้เสนอผลงานวิจัยดีมากแบบบรรยาย กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ในการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 3 (HERP CONGRESS III) สำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.  

ผลงานวิชาการ

คงเอก ศิริงาม. 2558. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาหลักพืชศาสตร์. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 367 หน้า.